โครงสรา้งเทศบาล
อำนาจและหน้าที่ของเทศบาล
รายนามคณะผู้บริหาร
รายชื่อสมาชิกสภา เทศบาล
หัวหน้าส่วนราชการ
กฎหมายเกี่ยวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สำนักปลัดเทศบาล
กองช่าง
กองคลัง
กองการศึกษา
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตลาดใหญ่
โรงเรียนเทศบาลตลาดใหญ่
โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลตลาดใหญ่
งานการแพทย์ฉุกเฉิน
เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
ยุทธศาสตร์การพัฒนา,หรือแผนพัฒนา
หน่วยงานในพื้นที่
สถิติรายได้
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารเทศบาลตำบลตลาดใหญ่
ศูนย์บริการร่วมเทศบาลตำบลตลาดใหญ่
แผนอัตรากำลัง
ITA
คู่มือสำหรับประชาชนตาม พรบ.อำนวยความสะดวกฯ
การจัดการความรู้(KM)
ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จOSS
คู่มือการปฏิบัติงาน
คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
การประเมินควบคุมภายใน
ช่องทางการรับฟังความคิดเห็นประชาชน
ช่องทางแจ้งข้อมูลข่าวสารการทุจจริต
ช่องทางการแจ้งเบาะแสป้ายโฆษณา
การเปิดเผยข้อมูล
งานกิจการสภา
การป้องกันการทุจริต
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส มาตรการเสริมส
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ข้อมูลเกี่ยวกับผู้สูงอายุ/คนพิการ
คู่มือประชาชน "พลเมืองคุณภาพ"
คำสั่งและประกาศต่างๆ
ศูนย์ข้อมูลสำหรับนักท่องเที่ยว
วารสารประชาสัมพันธ์ “ตลาดใหญ่ ห่วงใยประชาชน”
การจัดซื้อจัดจ้าง
พูดคุย/แสดงความคิดเห็นกับ คณะผู้บริหาร
ที่อยู่ติดต่อ
แผนที่ของ อบต.ตลาดใหญ่

 
 
ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของ เทศบาลตำบลตลาดใหญ่ วิสัยทัศน์. พัฒนาคน พัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาสังคม โครงสร้างพื้นฐานสะดวก ทิวทัศน์สวยสะอาด ปราศจากขยะและน้ำเสีย ประชาชนพัฒนาเรียนรู้ตลอดชีวิต ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
 

 
 



ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง <18/10/59>



ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประกอบไปด้วย
5 ส่วน ดังนี้




ข้อที่ 1.
กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่
และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย
สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา
และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย
และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา




ข้อที่ 2.
คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียง
สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง
และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน




ข้อที่ 3.
คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ ดังนี้




  1. ความพอประมาณ
    หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง
    และผู้อื่น เช่นการผลติ และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ

  2. ความมีเหตุผล
    หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
    โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น
    ๆ อย่างรอบคอบ

  3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
    หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
    ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ
    ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล



ข้อที่
4.
 เงื่อนไข
การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง
ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน
2
เงื่อนไข
ดังนี้




  1. เงื่อนไขความรู้
    ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน
    ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน
    เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ

  2. เงื่อนไขคุณธรรม
    ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต
    และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต



ข้อที่ 5. แนวทางปฏิบัติ
/ ผลที่คาดว่าจะได้รับ
จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้
คือ การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน
ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี




นั่นคือ
หลักแนวคิด และแนวทางเพื่อการปฏิบัติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ซึ่งไม่ว่าจะเป็นบุคคล หรือองค์กรต่างๆ สามารถปฏิบัติตามได้





 
 
Copy right ©2006-2024 โดย เทศบาลตําบลตลาดใหญ่ - http://www.taladyai.go.th
ที่ทำการเทศบาลตำบลตลาดใหญ่ 94 หมู่ 5 ต.ตลาดใหญ่ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 50220
เว็บไซต์ออกแบบและพัฒนาโดย www.click2solutions.com

เริ่มต้น: 20 กันยายน 2549